วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 16




วันที่ 27 เดือน เมษายน    2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ได้ให้เรียนชดเชย และพร้อมร้องเพลงที่ละคนโดยที่อจารย์จะมีการสุ่มหมายเลขออกไปร้องเพลงและให้จับชะลากเนื้อเพลงและในวันนั้นเป็นการเรียนการสอนวันสุดท้าย









บันทึกอนุทินครั้งที่ 15





วันที่ 23 เดือน เมษายน    2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย



โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล



แผน I E P

-แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
-เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูใช้เหมาะสมความต้องการและความสามารถของเขา
-ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
-โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก


การเขียนแผน IEP
-คัดแยกเด็กพิเศษ
-ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
-ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ  จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด
-เด็กสามารถทำอะไรได้ /เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
-แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP

IEP ประกอบด้วย
-ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
-ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
-การระบุความสามารถของเด็กของเด็กในขณะปัจจุบัน
-เป้าหมายระยะยาวประจำปี/ ระยะสั้น
-ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอนและคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
-วิธีการประเมินผล

ประโยชน์ต่อเด็ก
-ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
-ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
-ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

ประโยชน์ต่อครู
-เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามารถและความต้องการของเด็ก
-ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป
-ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ

ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
-ได้มีส่วนในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคลเพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
-ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
-เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ด มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน


ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล

การรวบข้อมูล
-รายงานทางการแพทย์
-รายงานการประเมินด้านต่างๆ
-บันทึกจากผู้ปกครอง ครู  และผู้ที่เกี่ยว

การจัดทำแผน
-ประชุมผู้ท่เกี่ยวข้อง
-กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น
-กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม

การกำหนดจุดมุ่งหมาย
-ระยะยาว
-ระยะสั้น

จุดมุ่งหมายระยะยาว
-กำหนดให้ชัดเจน  แม้จะกว้าง
-น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
-น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
-น้องริวเข้ากับบเพื่อนคนอื่นๆได้

จุดมุ่งหมายระยะสั้น
-ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
-เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3วัน หรือ   2-3 สัปดาห์
-จะสอนใคร
-พฤติกรรมอะไร
-เมื่อไหร่  ที่ไหน  ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิด 
-พฤติกรรมนั้นต้องดีขาดไหน

การใช้แผน
-เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
-นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
-แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
-ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง

การประเมินผล
-โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
-ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์ต่างกัน
**การประเมินในแต่ละทักาะหรือแต่ละกิจกรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**

การจัดทำ
-การรวบรวมข้อมูล
-การจัดทำแผน
-การใช้แผน
-การประเมิน










การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความตั้งใจทำงานช่วยกันทำงานที่เกี่ยวกับการเขียนแผน IEP 
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียนตั้งใจทำช่วยเพื่อนคิดและเสนอความคิดเห็นต่างๆ
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียนอาจารย์ได้สอนให้เขียนแผน IEP  เพื่อที่จะนำไปใช้ได้จริง



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริงสามารถนำ






วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14





วันที่ 16 เดือน เมษายน    2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย





  *  ไม่มีการเรียนการสอน  *

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13





วันที่ 9 เดือน เมษายน    2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ช่วงความสนใจ
-ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
-จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร


ทักษะพื้นฐานทางการเรียน

การเลียนแบบ

เป้าหมาย
-การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
-มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
-เด็กรู้สึกว่า  ฉันทำได้
-พัฒนาความกระตือรือร้น  อยากรู้อยากเห็น
-อยากสำรวจ  อยากทดลอง

การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
-เด็กได้ยินสิ่งครูพูดชัดหรือไม่
-เด็กเข้าใจศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
-คำสั่งยุ่งยากชับซ้อนไปหรือไม่

การรับรู้  การเคื่อนไหว
-ได้ยิน  เห็น  สัมผัส  ลิ้มรส  กลิ่น
-ตอบสนองอย่างเหมาะสม

ความจำ
-จากการสนทนา
-เมื่อเช้าหนูทานอะไร
-แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
-จำตัวละคนในนิทาน
-จำชื่อครู  เพื่อน

การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ

-พูดในทางที่ดี
-จัดกิจกรรมให้เด็กเคลื่อนไหว
-ทำบทเรียนให้สนุก

การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
-จัดกลุ่มเด็ก
-เริ่มต้นรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
-ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
-ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
-ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย

การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
-ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
-บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
-รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยน
-มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
-เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง











การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความตั้งใจทำงาน
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียนตั้งใจทำชิ้นของตัวเองออกมาอย่างสวยงาม
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริงสามารถนำกิจกรรมเหล่านี้ไปบำบัดเด็กพิเศษได้จริงเพราะกิจกรรมนี้มันสามารกฝึกสมาธิของตัวเด็กได้



บันทึกอนุทินครั้งที่ 12





วันที่ 26 เดือน  มีนาคม  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย




*  ไม่มีการเรียนการสอน  *


บันทึกอนุทินครั้งที่ 11





วันที่ 2 เดือน เมษายน  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย






   *วันนี้อาจารย์ให้สอบย่อยเก็บคะแนนในวิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัยว่าสิ่งที่ได้เรียนมาทั้งหมดไดความรู้อะไรบ้าง โดยอจารย์มีข้อสอบมาให้  จำนวน5ข้อ 10คะแนน ข้อสอบเป็นข้อสอบแบบอัตนัย โดยเน้นการวิเคราะห์

วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 10





วันที่ 19 เดือน  มีนาคม  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย


ทักาะการช่วยเหลือตนเอง-เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง-อยากทำงานตามความสามารถ-เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่


ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
-การได้ทำด้วยตนเอง
-เชื่อมั่นในตนเอง
-เรียนรู้ความสึกที่ดี

หัดให้เด็กทำเอง
-ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น ใจแข็ง
-ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
-ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
-หนูทำช้า  หนูยังทำไม่ได้

ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
-แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นชั้นย่อยๆ
-เรียงลำดับตามขั้นตอน
การวางแผนทีละขั้น
-แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด


สรุป
-ครูต้องพยายามให้เด้กทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
-ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
-ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
-ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
-เด็กพึ่งตนเองได้ รุ้สึกเป็นอิสระ





กิจกรรมในห้องเรียน











การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความตั้งใจทำงาน
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียนตั้งใจทำชิ้นของตัวเองออกมาอย่างสวยงาม
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริงสามารถนำกิจกรรมเหล่านี้ไปบำบัดเด็กพิเศษได้จริงเพราะกิจกรรมนี้มันสามารกฝึกสมาธิของตัวเด็กได้

วันอังคารที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9



วันที่ 12 เดือน  มีนาคม  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

2.ทักษะภาษา

การวัดความสามารถทางภาาษา
-เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
-ถามหาสิ่งต่างๆไหม
-ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
-บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
-ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม


การออกเสียง/พูดไม่ชัด
-การพูดตกหล่น
-การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
-ติดอ่าง


การปำบัติของครูและผู้ใหญ่
-ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
-ห้ามเด็กพูดว่า  พูดช้า ตามสบาย  คิดก่อนพูด
-อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
-อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
-ไม่เปรียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
-เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน


ทักษะพื้นฐานทางภาษา
-ทักษะการรับรู้ภาษา
-การแสดงออกทางภาษา
-การสื่อความหมายโยไม่ใช้คำพูด



ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
-การรับภาษามาก่อนกาารแสดงออกทางภาษา
-ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
-ให้เวลาเด็กได้พูด
-คอยให้เด็กตอบ  ชี้แนะนำหากจำเป็น
-เป็นผู้ฟังที่ดีและโต้ตอบอย่างฉับไว  ครูไม่พูดมากเกินไป
-เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว
-ให้เด็กทำกิจกรรมกลุ่ม เด็กพิเษศได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
-กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเอง  ครูไม่คาดเดาการณ์ล่วงหน้า
-เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด
-ใช้คำถามปลายเปิด
-เด็กพิเษศรับรู้มากเท่าไหร่ ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
-ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
















กิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษ

การลากเส้นไปตามเสียงเพลง















การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความสามัคคีกันและช่วยกันออกความคิดเห็นต่างในการทำกิจกรรมได้มีการวางแผนก่อนลงมือทำงาน
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียนช่วยเพื่อนทำงานและออกความคิดเห็น
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริงสามารถนำกิจกรรมเหล่านี้ไปบำบัดเด็กพิเศษได้จริงเพราะกิจกรรมนี้มันสามารกฝึกสมาธิของตัวเด็กได้


วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7



วันที่ 5 เดือน  มีนาคม  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย





บันทึกอนุทินครั้งที่ 6



วันที่ 19 เดือน  กุมภาพันธ์  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะทางสังคม
-เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุจากการพ่อแม่
-การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข

กิจกรรมการเล่น
-การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
-เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
-ในช่วงแรกๆเด็กไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อนแต่เป็นอะไรบางอย่างน่าสำรวจสัมผัส ผลัก ดึง

ยุทธศาสตร์การสอน
-เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
-ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
-จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นแบบใดบ้าง
-ครูจดบันทึก
-ทำแผน IEP


การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
-วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
-คำนึงถึงทุกคน
-ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
-เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน ครู ให้เด็กพิเศษ


ครูปฎิบัติอย่างไรขระเด็กเล่น
-อยู่ใกล้ๆและเฝ้ามองอย่างสนใจ
-ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
-เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม ยืดเวลาการเล่น
-ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม

การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
-ครูพูดซักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
-ทำโดย การพูดนำของครู

ช่วยเด็กทุกคนให้รู็กฏเกณฑ์
-ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
-การให้โกาสเด็ก
-เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆ เหมือนเพื่อนในห้อง
-ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป้นเครื่องต่อรอง



กิจกรรมในห้องเรียน









        








การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความสามัคคีกัน
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียน
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริง