วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6



วันที่ 19 เดือน  กุมภาพันธ์  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะทางสังคม
-เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุจากการพ่อแม่
-การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข

กิจกรรมการเล่น
-การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
-เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
-ในช่วงแรกๆเด็กไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อนแต่เป็นอะไรบางอย่างน่าสำรวจสัมผัส ผลัก ดึง

ยุทธศาสตร์การสอน
-เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
-ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
-จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นแบบใดบ้าง
-ครูจดบันทึก
-ทำแผน IEP


การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
-วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
-คำนึงถึงทุกคน
-ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
-เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน ครู ให้เด็กพิเศษ


ครูปฎิบัติอย่างไรขระเด็กเล่น
-อยู่ใกล้ๆและเฝ้ามองอย่างสนใจ
-ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
-เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม ยืดเวลาการเล่น
-ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม

การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
-ครูพูดซักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
-ทำโดย การพูดนำของครู

ช่วยเด็กทุกคนให้รู็กฏเกณฑ์
-ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
-การให้โกาสเด็ก
-เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆ เหมือนเพื่อนในห้อง
-ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป้นเครื่องต่อรอง



กิจกรรมในห้องเรียน









        








การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรมในห้องเรียนและมีความสามัคคีกัน
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียน
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น