วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5



วันที่ 12 เดือน  กุมภาพันธ์  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย


การรสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ

ทักษะของครูและทัศนคติ

การฝึกเพิ่มเติม
-อบรมระยะสั้น  สัมมนา
-สื่อต่างๆ

การเข้าใจภาวะปกติ
-เด็กมักคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
-ครูต้องเรียนรู้ มีปฎิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
-รู้จักเด็กแต่ละคน
-มองเด็กให้เป็น เด็ก

การคัดแยกเด็กที่มีพัมนาการช้า
-การเข้าใจพัฒนาการของเด็กจะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย

ความพร้อมของเด็ก
-วุฒิภาวะ
-แรงจูงใจ
-โอกาส

การสอนโดยบังเอิญ
-ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
-เด็กเข้าหาครูมากเท่าไหร่ยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น


การสอนโดยบังเอิญ (ต่อ)
-ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
-ครูมีความสนใจเด็ก
-ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
-ครูต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมกล่อมใจเด็ก
-ครูต้องใช้เวลาในการติดต่อไม่นาน
-ครูต้องทำให้เป็นเรื่องสนุกสนาน

อุปกรณ์
-มีลักษะง่ายๆ
-ใช้ประโชน์ได้หลายอย่าง
-เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากจากสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
-เด็กปกติเรียนรู้ที่จะให้ความช่วยเหลือเด้กพิเศษ


ตารางประจำวัน
-เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ
-กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและทำนายได้
-เด็กจะรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
-การสลับกิจกรรมที่อยู่เงียบๆกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากๆ
-คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา

ความยืดหยุ่น
-การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
-ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
-ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน


เทคนิคการให้แรงเสริม
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
-ความสนใจของผู้ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
-มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก และมักเป็นเป็นผลในทันที
-หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้นๆ ก็จะลดลงและหายไป

หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
-ครูต้องให้แรงสริมที่ที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
-ครูต้องละเว้นความสนใจทันที่และทุกครั้งที่เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์
-ครูควรให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์


การแนะนำหรือบอกบท
-ย่องาน
-ลำดับความยากง่ายของงาน
-การลำดับงานเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ
-การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ

ขั้นตอนการให้แรงเสริม
-สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
-วิเคราะห์งาน กำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานแต่ละชิ้น
-สอนจากง่ายไปยาก
-ให้แรงเสริมเฉพราะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่สุด
-ไม่ลุหรือตี

การลดหรือหยุดแรงเสริม
-ครูจะงดแรงเสริมที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
-ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
-เอาอุปกรณ์หรือของเล่นออกไปจากเด็ก
-เอาเด็กออกจากการเล่น








การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรม
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียน
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริง




วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4



วันที่ 5 เดือน  กุมภาพันธ์  2558


เวลา  08.30-12.00

วิชา EAED3214 การจัดประบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนก่อนที่จะเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ได้มีกิจกรรมให้ทำก่อนเรียนโดยให้วาดรูปดอกไม้  ชื่อดอกหางนกยุง  ซึ่งวาดเสร็จและให้เขียนบรรยายว่าในรูปดอกไม้มันสามารถสื่อถึงอะไรได้บ้างเพื่อที่จะใช้ในการประเมินเด็กได้ แล้วจากนั้นก็ได้เข้าสู่บทเรียน


กิจกรรมในห้องเรียน








เรียนเรื่อง   บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียน


ครูไม่ควรวินิจฉัย
-การวินิจฉัย  หมายถึง  การตัดสินใจโดยครูจากอาการหรือศัญญาณบางอย่าง
-จากอาการที่แสดงออกมานั้นอาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดได้


ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภท
-เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
-ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวเด็กตลอดไป
-เด็กจะกลายเป็นเช่นนั้นจริง


ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ
-พ่อแม่ของเด็กพิเศษ มักทราบดีว่าลูกของเขามีปัญหา
-พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูมาย้ำในสิ่งที่เขารู้อยู่แล้ว
-ครูควรรายงานผู้ปกครองว่าเด็กทำอะไรได้บ้าง  เท่ากับเป็นการบอกว่าเด็กทำอะไรไม่ได้
-ครูช่วยให้ผู้ปกครองมีความคาดหวังและเห็นแนวทางที่จะช่วยให้เด็กพัฒนาการ


ครูทำอะไรบ้าง
-ครูสามารถชี้ให้เห็นถึงพฤติกรรมของเด็กในเรื่องที่เกี่ยวกับพัฒนาการต่างๆ
-สงเกตเด็กอย่างมีระบบ
-จดบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นช่วงๆ



การบันทึกต่อเนื่อง
-ให้รายละเอียดได้มาก
-เขียนทุกอย่างที่เด็กทำในช่วงเวลาหนึ่ง หรือช่วงกิจกรรมหนึ่ง
-โดยไม่ต้องเข้าไปแนะนำช่วยเหลือ



การบันทึกไม่ต่อเนื่อง
-บันทึกลงบัตรเล็กๆ
-เป็นการบันทึกสั้นๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนในช่วงเวลาหนึ่ง



การเกิดพฤติกรรมบางอย่างมากเกินไป
-ควรเอาใจใส่ถึงระดับความมากน้อยของความบกพร่องมากกว่าชนิดความบกพร่อง
-พฟติกรรมไม่เหมาะสมที่พบได้ในเด็กทุกคน ไม่ควรจัดเป็นสิ่งผิดปกติ


การตัดสินใจ
-ครูต้องตัดสินใจด้วยความระมัดระวัง
-พฤติกรรมของเด็กที่เกิดขึ้นไปขัดขวางความสามารถในการเรียนรุ้ของเด็กหรือไม่




การประเมิน

 เพื่อน  สนใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและอธิบายในเนื่้อหา แต่งกายเรียบร้อยสนทำงานหรือกิจกรรม
ตนเอง  อาจมีการคุยบางครั้งในเวลาเรียน แต่งกายเรียบร้อย สนใจอาจารย์ทำงานเมื่อมีงานในห้องเรียน
อาจารย์ ได้อธิบายในเนื้อหาอย่างละเอียดและสามารถเข้าใจง่ายขึ้นโดยอาจารย์จะมีการยกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อให้นักศึกษาได้ทำความเข้าใจง่ายขึ้นในการเรียน



การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนมาทั้งหมดไปจัดในห้องเรียนและสามารถบูรนาการในรายวิชาอื่นๆได้และนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยเมื่อเราไดลงมือปฎิบัติจริงจะได้นำสิ่งที่เรียนมาจากอาจารย์ไปใช้ได้เมื่อเกิดขึ้นจริงและการที่อาจารย์ให้วาดรูปดอกไม้แล้วให้เขียนบรรยาว่าจะเด็กมีพัฒนาการอะไรบ้างเราก็จะพูดตามความเป็นจริงโดยที่ไม่ใส่อารมณ์ไปด้วย